ICU-5403 Remove U+00B7 (middle dot) from Greek test cases.
X-SVN-Rev: 20356
This commit is contained in:
parent
8abc07bc4d
commit
9fbfccda24
@ -36,6 +36,57 @@
|
||||
|
||||
</test-case>
|
||||
|
||||
<test-case id="IUC10-fi" encodings="UTF-8 UTF-32BE UTF-32LE ISO-8859-1/fi">
|
||||
<!-- Copyright © 1991-2005 Unicode, Inc. All rights reserved. -->
|
||||
Eurooppa, ohjelmisto ja internet:
|
||||
Unicode vie maailmalle
|
||||
IUC10
|
||||
Rekisteröidy nyt kymmenenteen kansainväliseen Unicode -konferenssiin, joka pidetään 10.-12. maaliskuuta 1997 Mainzissa Saksassa. Konferenssi kokoaa yhteen internetin ja Unicoden, kansainvälistämisen ja lokalisoinnin, Unicode-toteutusten, kirjasimien, tekstin muotoilun ja monikielisen tiedonkäsittelyn asiantuntijat.
|
||||
Kun maailma haluaa puhua, se puhuu Unicodea
|
||||
</test-case>
|
||||
|
||||
<test-case id="WIU-th" encodings="UTF-8 UTF-32BE UTF-32LE TIS-620/th">
|
||||
<!-- Copyright © 1991-2005 Unicode, Inc. All rights reserved. -->
|
||||
Unicode กำหนดหมายเลขเฉพาะสำหรับทุกอักขระ
|
||||
โดยไม่สนใจว่าเป็นแพล็ตฟอร์มใด
|
||||
ไม่ขึ้นกับว่าจะเป็นโปรแกรมใด
|
||||
และไม่ว่าจะเป็นภาษาใด
|
||||
|
||||
โดยพื้นฐานแล้ว, คอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องกับเรื่องของตัวเลข. คอมพิวเตอร์จัดเก็บตัวอักษรและอักขระอื่นๆ โดยการกำหนดหมายเลขให้สำหรับแต่ละตัว. ก่อนหน้าที่๊ Unicode จะถูกสร้างขึ้น, ได้มีระบบ encoding อยู่หลายร้อยระบบสำหรับการกำหนดหมายเลขเหล่านี้. ไม่มี encoding ใดที่มีจำนวนตัวอักขระมากเพียงพอ: ยกตัวอย่างเช่น, เฉพาะในกลุ่มสหภาพยุโรปเพียงแห่งเดียว ก็ต้องการหลาย encoding ในการครอบคลุมทุกภาษาในกลุ่ม. หรือแม้แต่ในภาษาเดี่ยว เช่น ภาษาอังกฤษ ก็ไม่มี encoding ใดที่เพียงพอสำหรับทุกตัวอักษร, เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ทางเทคนิคที่ใช้กันอยู่ทั่วไป.
|
||||
|
||||
ระบบ encoding เหล่านี้ยังขัดแย้งซึ่งกันและกัน. นั่นก็คือ, ในสอง encoding สามารถใช้หมายเลขเดียวกันสำหรับตัวอักขระสองตัวที่แตกต่างกัน,หรือใช้หมายเลขต่างกันสำหรับอักขระตัวเดียวกัน. ในระบบคอมพิวเตอร์ (โดยเฉพาะเซิร์ฟเวอร์) ต้องมีการสนับสนุนหลาย encoding; และเมื่อข้อมูลที่ผ่านไปมาระหว่างการเข้ารหัสหรือแพล็ตฟอร์มที่ต่างกัน, ข้อมูลนั้นจะเสี่ยงต่อการผิดพลาดเสียหาย.
|
||||
Unicode จะเปลี่ยนแปลงสิ่งเหล่านั้นทั้งหมด!
|
||||
|
||||
Unicode กำหนดหมายเลขเฉพาะสำหรับแต่ละอักขระ, โดยไม่สนใจว่าเป็นแพล็ตฟอร์มใด, ไม่ขึ้นกับว่าจะเป็นโปรแกรมใดและไม่ว่าจะเป็นภาษาใด. มาตรฐาน Unicode ได้ถูกนำไปใช้โดยผู้นำในอุตสาหกรรม เช่น Apple, HP, IBM, JustSystem, Microsoft, Oracle, SAP, Sun, Sybase, Unisys และอื่นๆ อีกมาก. Unicode เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมาตรฐานใหม่ๆ เช่น XML, Java, ECMAScript (JavaScript), LDAP, CORBA 3.0, WML ฯลฯ., และเป็นแนวทางอย่างเป็นทางการในการทำ ISO/IEC 10646. Unicode ได้รับการสนับสนุนในระบบปฏิบัติการจำนวนมาก, บราวเซอร์ใหม่ๆ ทกตัว, และผลิตภัณฑ์อื่นๆ อีกมาก. การเกิดขึ้นของ Unicode Standard และทูลส์ต่างๆ ที่มีในการสนับสนุน Unicode, เป็นหนึ่งในแนวโน้มทางเทคโนโลยีซอฟต์แวร์ระดับโลกที่มีความสำคัญที่สุด.
|
||||
|
||||
การรวม Unicode เข้าไปในระบบไคลเอ็นต์-เซิร์ฟเวอร์ หรือแอ็พพลิเคชันแบบ multi-tiered และเว็บไซต์ จะทำให้เกิดการประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่าการใช้ชุดอักขระแบบเดิม. Unicode ทำให้ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์หนึ่งเดียว หรือเว็บไซต์แห่งเดียว รองรับได้หลายแพล็ตฟอร์ม, หลายภาษาและหลายประเทศโดยไม่ต้องทำการรื้อปรับระบบ. Unicode ยังทำให้ข้อมูลสามารถเคลื่อนย้ายไปมาในหลายๆ ระบบโดยไม่เกิดความผิดพลาดเสียหาย.
|
||||
เกี่ยวกับ Unicode Consortium
|
||||
|
||||
Unicode Consortium เป็นองค์กรไม่แสวงหากำไรที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อพัฒนา, ขยายและส่งเสริมการใช้ Unicode Standard, ซึ่งกำหนดรูปแบบการแทนค่าของข้อความในผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์และมาตรฐานใหม่ๆ. สมาชิกของสมาคมเป็นตัวแทนจากบริษัทและองค์กรในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และการประมวลผลสารสนเทศ. สมาคมได้รับการสนับสนุนทางการเงินผ่านทางค่าธรรมเนียมของการเป็นสมาชิกเท่านั้น. สมาชิกภาพของ Unicode Consortium เปิดกว้างสำหรับองค์กรหรือบุคคลใดๆ ในโลกที่ต้องการสนับสนุน Unicode Standard และช่วยเหลือการขยายตัวและการนำ Unicode ไปใช้งาน.
|
||||
</test-case>
|
||||
|
||||
<test-case id="Data-th" encodings="UTF-8 UTF-32BE UTF-32LE TIS-620/th">
|
||||
<!-- Copyright © 1991-2005 Unicode, Inc. All rights reserved. -->
|
||||
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชดำริ ให้จัดตั้ง "มูลนิธิชัยพัฒนา"เพื่อสนับสนุน การช่วยเหลือประชาชน ในรูปของการดำเนินการพัฒนาในด้านต่างๆ ในกรณีที่การดำเนินงานนั้นๆถูกจำกัดด้วย เงื่อนไขดังที่ได้กล่าวไว้แล้วหรือดำเนินงาน ในลักษณะอื่นใด ที่จะทำให้ประชาชนได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง รวดเร็วและไม่ตกอยู่ภายใต้ข้อจำกัดในเรื่องเงื่อนไขของเวลา
|
||||
กระทรวงมหาดไทย โดยกรุงเทพมหานครได้รับจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิชัยพัฒนาให้เป็นนิติบุคคล ตามเลขทะเบียนลำดับที่๓๙๗๕ ตั้งแต่วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๓๑ และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่๑๐๕ ตอนที่ ๑๐๙ วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๓๑
|
||||
การดำเนินงานของมูลนิธิชัยพัฒนา จะเน้นกิจกรรม เพื่อการพัฒนาที่ไม่ซ้ำซ้อน กับแผนงาน โครงการของรัฐที่มีอยู่แล้วแต่จะพยายาม สนับสนุน ส่งเสริม และ ประสานการดำเนินงานเพื่อให้โครงการต่างๆ เกิดความสมบูรณ์และสามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็วและสอดคล้องกับสถานการณ์โดยเฉพาะ ในกรณีที่โครงการของรัฐ ถูกจำกัดด้วยเงื่อนไข ของกฏระเบียบต่างๆอันเป็นผลทำให้โครงการนั้นๆ ไม่สามารถดำเนินการได้อย่างทันท่วงทีเช่นในกรณีที่อาจต้องจัดซื้อที่ดินจากราษฎรบางส่วน เพื่อดำเนินงานตามโครงการหนึ่งแต่รัฐมีปัญหา ด้านงบประมาณไม่เพียงพอในการจัดซื้อหรือมิได้ตั้งงบประมาณไว้ หรือ ถูกจำกัดด้วยเงื่อนไขของระเบียบต่างๆทำให้ดำเนินการจัดซื้อไม่ได้ หรือต้องตั้งงบประมาณจัดซื้อ ใน ๑-๒ ปีข้างหน้าซึ่งจะทำให้โครงการล่าช้าไป เป็นต้นในกรณีเช่นนี้มูลนิธิชัยพัฒนา จะได้ช่วยเหลือตามความเหมาะสมเพื่อให้โครงการนั้นๆ ดำเนินการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงสุด
|
||||
วิธีการดังตัวอย่างข้างต้นอาจนับได้ว่าเป็นวิวัฒนาการใหม่ ของแนวทางการพัฒนาประเทศที่มีมูลนิธิชัยพัฒนา ในฐานะเป็นนิติบุคคลสาธารณประโยชน์ที่จะเข้ามาประสานงานร่วมมือสนับสนุน โครงการพัฒนาของรัฐ อย่างสอดคล้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อให้โครงการที่มีปัญหานั้นๆสามารถดำเนินงานไปได้ โดยก่อประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน และประเทศชาติ อย่างเต็มที่
|
||||
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นทุนเริ่มแรก ในการจัดตั้ง มูลนิธิชัยพัฒนาและผู้มีจิตศรัทธาได้ทูลเกล้าฯ ถวายสมทบมูลนิธิชัยพัฒนาเพื่อเป็นกองทุน ในการนำผลประโยชน์มาเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน โครงการต่างๆ
|
||||
|
||||
การบริจาคสมทบมูลนิธิชัยพัฒนา จำนวนเงินที่บริจาคสามารถนำไปลด หย่อนภาษีเงินได้ การบริจาคสมทบมูลนิธิชัยพัฒนา สามารถปฎิบัติได้ ดังนี้
|
||||
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความห่วงใยเป็นอย่างยิ่ง ต่อปัญหาความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อม ที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะปัญหาน้ำเน่าเสียที่ส่งกลิ่นเหม็น ก่อปัญหาต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ได้เสด็จพระราชดำเนินตรวจสภาพน้ำเน่าเสียในคูคลองต่างๆหลาย โอกาสและได้พระราชทานพระราชดำริในการบำบัดน้ำเน่าเสีย ดังเช่นการปรับปรุงแหล่งน้ำที่มีอยู่แล้ว เช่นบึง หรือหนองน้ำ หรือพิจารณาขุดใหม่ตามความเหมาะสม เพื่อกรองน้ำเสียให้มีคุณภาพดีขึ้น โดยใช้วิธีทางธรรมชาติด้วยการใช้ผักตบชวาเป็นตัวกรองน้ำเสีย ได้ดำเนินการอยู่ ในโครงการบึงมักกะสัน และ บึงพระราม 9
|
||||
ต่อมาทรงเน้นถึงวิธีการบำบัดแบบผสมผสาน โดยใช้ เข้าช่วย เนื่องจากทรงเห็นว่าการใช้ผักตบชวาต้องอาศัยพื้นที่มาก ประกอบกับผักตบชวามีความสามารถในการลดค่าความสกปรกที่ต่ำๆ เท่านั้นจึงจำเป็นต้องเอาเครื่องกลเติมอากาศเข้าช่วยบำบัดอีกทางหนึ่ง
|
||||
พระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชกระแสอธิบายว่าลิงโดยทั่วไปถ้าเราส่งกล้วย ให้ลิงจะรีบ ปอกเปลือก เอาเข้าปากเคี้ยว แล้วนำไปเก็บไว้ที่แก้มก่อนลิงจะทำอย่างนี้จน กล้วยหมดหวีหรือ เต็มกระพุ้ง แก้ม จากนั้นจะค่อยๆ นำออกมาเคี้ยวและ กลืนกินภาย หลัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงนำพฤติกรรมของลิงที่นำกล้วยมาสะสมไว้ที่กระพุ้ง แก้ม ก่อนกลืนกิน เป็นตัวอย่างในการระบายน้ำออกจาก พื้นที่ท่วมขัง โดยมี พระราชดำริ ให้กรมชลประทาน ก่อสร้างบ่อพักน้ำขนาดใหญ่ในพื้นที่ประมาณ 10 ตารางกิโลเมตร บริเวณใกล้ชายทะเล เพื่อรองรับน้ำท่วมที่ไหลมา ตามลำคลองธรรมชาติ และคลองขุดใหม่ และก่อสร้าง ประตูระบายน้ำเพื่อระบายน้ำลงทะเลในช่วงที่น้ำทะเลลดลง ปิดประตูระบาย น้ำเมื่อน้ำทะเลขึ้นเพื่อป้องกัน มิให้น้ำทะเลไหลเข้ามาท่วมพื้นที่ได้ การดำเนินการโครงการ แก้มลิง เต็มรูปแบบต้องศึกษาและ วางแผน อย่างละเอียดซึ่งใช้เวลานาน ในระยะแรกจึง ไม่สามารถดำเนินการได้เต็มรูปแบบ แต่อย่างไรก็ตามโครงการ บางส่วนสามารถดำเนิน การได้ก่อน เพื่อบรรเทาปัญหาน้ำท่วมขังได้ส่วนหนึ่ง
|
||||
ปัจจุบันการขยายตัวของชุมชนและแหล่งอุตสาหกรรม มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดการเร่งระดมปลูกสร้างอาคารสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆมากขี้นจนเกินขีดความสามารถที่ฐานรองรับด้านสาธารณูปโภค และสาธารณูปการจะอำนวยให้ ภาวะการณ์ดังกล่างได้ก่อให้เกิดผลกระทบ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้มีพระราชดำริให้หาวิธีการ แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากขยะมูลฝอย น้ำเสีย และรักษาสภาพป่าชายเลนในพื้นที่ ที่อยู่ติดกับชายทะเล โดยให้ทำการศึกษา วิจัย เรื่องการควบคุมมลภาวะสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ รวมทั้งทำการพัฒนาในด้านต่างๆ ควบคู่ไปในเขตพื้นที่ตำบลแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เนื้อที่ 1,135 ไร่ ลักษณะโครงการเป็นการศึกษาวิจัย และพัฒนาเพื่อหาประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย และกำจัดขยะมูลฝอย โดยวิธีทางธรรมชาติ และศึกษาแก้ไขปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ผลการดำเนินงาน จะก่อให้เกิดประโยชน์โดยตรงกับสิ่งแวดล้อม ทั้งยังเป็นโครงการนำร่อง หรือโครงการต้นแบบสำหรับพื้นที่อื่นๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงต่อไป
|
||||
ปัญหาหลักของเกษตรกรในอดีต จนถึงปัจจุบันที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนน้ำเพื่อเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่เกษตรที่อาศัยน้ำฝน ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศที่อยู่ในเขต ที่มีฝนค่อนข้างน้อยและส่วนมากเป็นนาข้าวและพืชไร่ เกษตรกรยังคงทำการเพาะปลูก ได้ปีละครั้งในช่วงฤดูฝนเท่านั้น และมีความเสี่ยงกับความเสียหาย อันเนื่องมาจากความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศและฝนทิ้งช่วง แม้ว่าจะมีการขุดบ่อหรือสระเก็บน้ำไว้ใช้บ้างแต่ก็มีขนาดเพียงพอ หรือมีปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็นปัญหาให้มีน้ำใช้ไม่เพียงพอ รวมทั้งระบบการปลูกพืชไม่มีหลักเกณฑ์ใด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว
|
||||
ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานพระราชดำริ เพื่อเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยากลำบากดังกล่าว ให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤติ โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ำ ได้โดยไม่เดือดร้อนและยากลำบากนัก
|
||||
พระราชดำรินี้ ทรงเรียกว่า "ทฤษฎีใหม่" เป็นแนวทางหรือหลักการในการบริหารการจัดการที่ดินและน้ำ เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด
|
||||
ทฤษฎีใหม่ : ทำไมใหม่
|
||||
1. มีการบริหารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็ก ออกเป็นสัดส่วนที่ชัดเจน เพื่อประโยชน์สูงสุดของเกษตรกร ซึ่งไม่เคยมีใครคิดมาก่อน
|
||||
2. มีการคำนวณโดยหลักวิชาการ เกี่ยวกับปริมาณน้ำที่จะกักเก็บให้พอเพียง ต่อการเพาะปลูกได้ตลอดปี
|
||||
3. มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบ สำหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมีถึง 3 ขั้นตอน
|
||||
</test-case>
|
||||
|
||||
<test-case id="IUC10-da" encodings="UTF-8 UTF-32BE UTF-32LE ISO-8859-1/da">
|
||||
<!-- Copyright © 1991-2005 Unicode, Inc. All rights reserved. -->
|
||||
|
||||
@ -455,7 +506,7 @@ Conference Program
|
||||
Εκτός αυτού, οι κωδικοσελίδες αυτές διαφωνούσαν μεταξύ τους. Έτσι, δύο κωδικοσελίδες μπορούσαν κάλλιστα να
|
||||
χρησιμοποιούν τον ίδιο αριθμό για δύο διαφορετικούς χαρακτήρες, ή να χρησιμοποιούν διαφορετικούς αριθμούς για
|
||||
τον ίδιο χαρακτήρα. Κάθε υπολογιστής (και ιδίως εάν ήταν διακομιστής) έπρεπε να υποστηρίζει πλήθος διαφορετικών
|
||||
κωδικοσελίδων· ταυτόχρονα κάθε φορά που δεδομένα μεταφέρονταν μεταξύ διαφορετικών κωδικοσελίδων ή
|
||||
κωδικοσελίδων ταυτόχρονα κάθε φορά που δεδομένα μεταφέρονταν μεταξύ διαφορετικών κωδικοσελίδων ή
|
||||
λειτουργικών συστημάτων, τα δεδομένα αυτά κινδύνευαν να αλλοιωθούν.
|
||||
|
||||
</test-case>
|
||||
@ -481,7 +532,7 @@ Conference Program
|
||||
Εκτός αυτού, οι κωδικοσελίδες αυτές διαφωνούσαν μεταξύ τους. Έτσι, δύο κωδικοσελίδες μπορούσαν κάλλιστα να
|
||||
χρησιμοποιούν τον ίδιο αριθμό για δύο διαφορετικούς χαρακτήρες, ή να χρησιμοποιούν διαφορετικούς αριθμούς για
|
||||
τον ίδιο χαρακτήρα. Κάθε υπολογιστής (και ιδίως εάν ήταν διακομιστής) έπρεπε να υποστηρίζει πλήθος διαφορετικών
|
||||
κωδικοσελίδων· ταυτόχρονα κάθε φορά που δεδομένα μεταφέρονταν μεταξύ διαφορετικών κωδικοσελίδων ή
|
||||
κωδικοσελίδων ταυτόχρονα κάθε φορά που δεδομένα μεταφέρονταν μεταξύ διαφορετικών κωδικοσελίδων ή
|
||||
λειτουργικών συστημάτων, τα δεδομένα αυτά κινδύνευαν να αλλοιωθούν.
|
||||
|
||||
</test-case>
|
||||
|
Loading…
Reference in New Issue
Block a user